ประเภทของเสียง
ประเภทของเสียง เสียงสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ MIDI และเสียงแบบดิจิตอล โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.MIDI ( มิดี้) ย่อมาจากคำว่า Musical Instrument Digital Interface ถ้าแปลตรงๆ ก็คือ การเชื่อมต่อของเครื่องดนตรี ในระบบดิจิดอล MIDI คือระบบการสื่อสารระหว่างเครื่องดนตรีต่างๆ ทั้งชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน ทั้งยี่ห้อเดียวกันหรือต่างยี่ห้อกัน และยังรวมมาถึงจากคอมพิวเตอร์ กับเครื่องดนตรีด้วย MIDI เกิดขึ้นโดยบรรดานักดนตรีก็เกิดความต้องการที่จะเล่นเสียงของ เครื่องดนตรีหลายๆ ชิ้นพร้อมๆ กันขึ้นมา ซึ่งพวกเขาได้ทำปรับเสียงของคีย์บอร์ดหลายๆ ตัวเอาไว้ ตัวละเสียง แต่พวกเขา ก็ยังไม่สามารถควบคุมได้หมด ในบางครั้งนักดนตรีต้องการเล่นเสียงของเครื่องเป่า 5 ชิ้นพร้อมๆ กันในโน็ตตัวเดียวกัน ( unison ) เพื่อทำให้เสียง หนา ขึ้น แต่ก็สุดปัญญาที่จะเล่น เครื่องดนตรี5 ชิ้นพร้อมกันเนื่องมีมือแค่สองมือ และมีเพียงสองเท้าเท่านั้น นักดนตรีจึงต้องการ ความช่วยเหลือ จากระบบควบคุมเครื่องดนตรีทั้งหมดซึ่ง เชื่อมต่อกันได้อย่างสมบูรณ์
ดังนั้น นักดนตรีทั้งหลายจึงต้องการอุปกรณ์ที่จะช่วยเชี่อมต่อเครื่องดนตรีหลายๆ ชิ้นเข้าด้วยกัน โดยที่จะต้องไม่ขึ้นกับว่าเป็น เคริองดนตรีชนิดเดียวกันหรือมาจากบริษัทเดียว กันหรือไม่ และมาตรฐานนี้จะต้องสามารถใช้ควบคุมเครื่อง ดนตรีที่เป็น Electronic ทุกชนิดต่อไปในอนาคตด้วย
ดังนั้น นักดนตรีทั้งหลายจึงต้องการอุปกรณ์ที่จะช่วยเชี่อมต่อเครื่องดนตรีหลายๆ ชิ้นเข้าด้วยกัน โดยที่จะต้องไม่ขึ้นกับว่าเป็น เคริองดนตรีชนิดเดียวกันหรือมาจากบริษัทเดียว กันหรือไม่ และมาตรฐานนี้จะต้องสามารถใช้ควบคุมเครื่อง ดนตรีที่เป็น Electronic ทุกชนิดต่อไปในอนาคตด้วย
มาตรฐานของ MIDI จึงได้ถูกตั้งขึ้นมาโดยการร่วมมือกันของบรรดา บริษัทผู้ผลิตเครื่องดนตรี เพื่อต้องการสร้างมาตรฐานในการเชื่อมต่อ เครื่องดนตรีหลายๆ ชนิดเข้าด้วยกันโดยไม่ต้องคำนึงถึงยี่ห้อ หรือ รุ่น MIDI จึงเป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ ซึ่งเป็นมาตรฐานในการสื่อสารด้านเสียง ที่ได้รับการพัฒนามาตั้งแต่ปีค.ศ.1980 สำหรับใช้กับเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ โดยในมุมมองของนักดนตรี MIDI คือโน้ตเพลงที่มีรูปแบบเป็นสัญลักษณ์หรือตัวเลขที่จะบอกให้รู้ว่าต้องเล่นโน้ตตัวใดในเวลานาน เท่าไรเพื่อให้เกิดเป็นเสียงดนตรี
ดนตรีแบบ MIDI จะไม่เหมือนเสียงจากเครื่องดนตรีจริงๆดังนั้นเครื่องมือในการเล่นเพลงแบบ MIDI จะมีผลต่อคุณภาพเสียงที่ได้
ดังนั้นจึงมีความจำเป็นในการสร้างและปรับแต่งเสียงMIDIให้มีความไพเราะมากยิ่งขึ้น
ดนตรีแบบ MIDI จะไม่เหมือนเสียงจากเครื่องดนตรีจริงๆดังนั้นเครื่องมือในการเล่นเพลงแบบ MIDI จะมีผลต่อคุณภาพเสียงที่ได้
ดังนั้นจึงมีความจำเป็นในการสร้างและปรับแต่งเสียงMIDIให้มีความไพเราะมากยิ่งขึ้น
เครื่องดนตรีแบบ MIDI
Keyboard
ความสำคัญอย่างหนึ่งของ MIDI คือ
สามารถใช้งานร่วมกันกับคอมพิวเตอร์ที่มีระบบดนตรีซึ่งการใช้คอมพิวเตอร์จะพาไปสู่มิติอื่นอย่างไม่มี ที่สิ้นสุด และสามารถเก็บเพลงลงในคอมพิวเตอร์ได้ทันที และเรียกส่วนนั้นมาใช้งานได้ทุกเวลา
-ถ้ารู้วิธีเขียนตัวโน้ต เราก็สามารถผลิตผลงานเพลงด้วยตัวเองโดยถูกต้องและแจกจ่ายเพลง ให้กับคนอื่น ๆ ได้ ข้อดี ไฟล์ข้อมูลมีขนาดเล็ก การสร้างข้อมูล MIDI ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องดนตรีจริงๆ ใช้หน่วยความจำน้อยทำให้ประหยัดพื้นที่บนฮาร์ดดิสก์ เหมาะสำหรับใช้งานบนระบบเครือข่าย และง่ายต่อการแก้ไขและปรับปรุง
สามารถใช้งานร่วมกันกับคอมพิวเตอร์ที่มีระบบดนตรีซึ่งการใช้คอมพิวเตอร์จะพาไปสู่มิติอื่นอย่างไม่มี ที่สิ้นสุด และสามารถเก็บเพลงลงในคอมพิวเตอร์ได้ทันที และเรียกส่วนนั้นมาใช้งานได้ทุกเวลา
-ถ้ารู้วิธีเขียนตัวโน้ต เราก็สามารถผลิตผลงานเพลงด้วยตัวเองโดยถูกต้องและแจกจ่ายเพลง ให้กับคนอื่น ๆ ได้ ข้อดี ไฟล์ข้อมูลมีขนาดเล็ก การสร้างข้อมูล MIDI ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องดนตรีจริงๆ ใช้หน่วยความจำน้อยทำให้ประหยัดพื้นที่บนฮาร์ดดิสก์ เหมาะสำหรับใช้งานบนระบบเครือข่าย และง่ายต่อการแก้ไขและปรับปรุง
ข้อเสีย แสดงผลเฉพาะดนตรีบรรเลงและเสียงที่เกิดจากโน้ตดนตรีเท่านั้น และอุปกรณ์อิเล็กกทรอนิกส์ที่ใช้สร้างมีราคาค่อนข้างสูง
2.เสียงแบบดิจิตอล (Digital Audio)
สัญญาณเสียงที่ส่งมาจากไมโครโฟน เครื่องสังเคราะห์เสียง เครื่องเล่นเทป หรือจากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจากธรรมชาติ และที่สร้างขึ้น แล้วนำข้อมูลที่ได้แปลงเป็นสัญญาณดิจิตอล ซึ่งข้อมูลจะถูกสุ่มให้อยู่ในรูปแบบของบิต และไบต์ โดยเรียกอัตราการสุ่มข้อมูลที่ได้มา เรียกว่า “ Sampling Rate ” และจำนวนของข้อมูลที่ได้เรียกว่า “Sampling Size” ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดคุณภาพของเสียงที่ได้จากการเล่นเสียงแบบดิจิตอล
เสียงแบบดิจิตอลจะมีขนาดข้อมูลใหญ่ ทำให้ต้องใช้หน่วยความจำและทรัพยากรบนหน่วยประมวลผลกลางมากกว่า MIDI แต่จะแสดงผลได้หลากหลาย และเป็นธรรมชาติกว่า MIDI มาก
เสียงแบบดิจิตอลที่พบบ่อย จะอยู่ช่วงความถี่ 44.1 kHz , 22.05 kHz และ 11.023 kHz ซึ่งมี Sampling Size เป็น 8 บิต และ 16 บิต โดยที่ Sampling Rate และ Sampling Size ที่สูงกว่าจะให้คุณภาพของเสียงที่ดีกว่า และจะต้องมีเนื้อที่บนฮาร์ดดิสก์สำหรับรองรับอย่างเหมาะสม
สัญญาณเสียงที่ส่งมาจากไมโครโฟน เครื่องสังเคราะห์เสียง เครื่องเล่นเทป หรือจากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจากธรรมชาติ และที่สร้างขึ้น แล้วนำข้อมูลที่ได้แปลงเป็นสัญญาณดิจิตอล ซึ่งข้อมูลจะถูกสุ่มให้อยู่ในรูปแบบของบิต และไบต์ โดยเรียกอัตราการสุ่มข้อมูลที่ได้มา เรียกว่า “ Sampling Rate ” และจำนวนของข้อมูลที่ได้เรียกว่า “Sampling Size” ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดคุณภาพของเสียงที่ได้จากการเล่นเสียงแบบดิจิตอล
เสียงแบบดิจิตอลจะมีขนาดข้อมูลใหญ่ ทำให้ต้องใช้หน่วยความจำและทรัพยากรบนหน่วยประมวลผลกลางมากกว่า MIDI แต่จะแสดงผลได้หลากหลาย และเป็นธรรมชาติกว่า MIDI มาก
เสียงแบบดิจิตอลที่พบบ่อย จะอยู่ช่วงความถี่ 44.1 kHz , 22.05 kHz และ 11.023 kHz ซึ่งมี Sampling Size เป็น 8 บิต และ 16 บิต โดยที่ Sampling Rate และ Sampling Size ที่สูงกว่าจะให้คุณภาพของเสียงที่ดีกว่า และจะต้องมีเนื้อที่บนฮาร์ดดิสก์สำหรับรองรับอย่างเหมาะสม
Sampling Rate (kHz) |
Sampling Size (bit)
|
Stereo หรือ Mono
|
จำนวน Byte ที่ใช้ 1 วินาที
|
44.1
|
16
|
Stereo
|
8.5 MB
|
44.1
|
16
|
Mono
|
5.25 MB
|
44.1
|
8
|
Stereo
|
5.25 MB
|
44.1
|
8
|
Mono
|
2.6 MB
|
22.05
|
16
|
Stereo
|
5.25 MB
|
22.05
|
16
|
Mono
|
2.5 MB
|
22.05
|
8
|
Stereo
|
2.6 MB
|
22.05
|
8
|
Mono
|
1.3 MB
|
11.025
|
8
|
Stereo
|
1.3 MB
|
11.025
|
8
|
Mono
|
650 KB
|
การจัดเก็บแฟ้มข้อมูลเสียงแบบดิจิตอล (Preparing Digital Audio File)
แฟ้มข้อมูลเสียงแบบดิจิตอลจะมีการจัดเก็บอย่างตรงไปตรงมากล่าวคือไม่ว่าจะบันทึกเสียง จากแหล่งกำเนิดเสียงชนิดใด แฟ้มข้อมูลก็จะทำการบันทึกเป็นสื่อดิจิตอลเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งในแต่ละครั้งจะต้องบันทึกข้อมูลเสียงจากอุปกรณ์เพียงชนิดเดียว เช่น บันทึกเสียงจากเครื่องเล่นเทปหรือไมโครโฟน เป็นต้ โดยจะใช้ซอฟตืแวร์ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลเสียงที่ต้องการ
หลักสำคัญในการจัดเก็บแฟ้มข้อมูลเสียงแบบดิจิตอลคือ
• จะต้องเตรียม RAM และทรัพยากรบนฮาร์ดดิสรองรับให้เหมาะสมกับคุณภาพเสียงที่ ต้องการ
• ปรับระดับของการบันทึกเสียงให้ตรงกับคุณภาพที่ต้องการและมีมาตรการป้องกันเสียงรบกวนที่ดี
ขนาดของแฟ้มข้อมูลกับคุณภาพ (File Size Versus Quality)
จากที่เคยกล่าวมาแล้วว่าอัตรา Sampling Rate ยิ่งสูงความถูกต้องของข้อมูลเสียงที่ทำการ บันทึกจะสูงตามไปด้วย เรียกว่า “ความละเอียดของเสียง” (Audio Resolution) นั่นหมายถึงว่า หากต้องการคุณภาพเสียงดีเท่าไรขนาดของแฟ้มข้อมูลก็จะใหญ่ขึ้นตามไปด้วย
การบันทึกเสียงแบบสเตริโอ (StereoRecording) จะให้คุณภาพของเสียงที่ฟังแล้วสมจริงมากขึ้น และเมื่อเปรียบเทียบการบันทึกเสียงแบบโมโน (Mono Recording) กับการบันทึกเสียงแบบสเตริโอโดยใช้ ระยะเวลาในการบันทึกเท่ากัน แฟ้มข้อมูลเสียงแบบสเตริโอที่บันทึกได้จะใช้พื้นที่มากกว่าแฟ้มข้อมูลเสียง แบบโมโน ซึ่งการคำนวณขนาดของแฟ้มข้อมูลที่ได้จากการบันทึกทั้งสองแบบมีดังนี้
แฟ้มข้อมูลเสียงแบบดิจิตอลจะมีการจัดเก็บอย่างตรงไปตรงมากล่าวคือไม่ว่าจะบันทึกเสียง จากแหล่งกำเนิดเสียงชนิดใด แฟ้มข้อมูลก็จะทำการบันทึกเป็นสื่อดิจิตอลเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งในแต่ละครั้งจะต้องบันทึกข้อมูลเสียงจากอุปกรณ์เพียงชนิดเดียว เช่น บันทึกเสียงจากเครื่องเล่นเทปหรือไมโครโฟน เป็นต้ โดยจะใช้ซอฟตืแวร์ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลเสียงที่ต้องการ
หลักสำคัญในการจัดเก็บแฟ้มข้อมูลเสียงแบบดิจิตอลคือ
• จะต้องเตรียม RAM และทรัพยากรบนฮาร์ดดิสรองรับให้เหมาะสมกับคุณภาพเสียงที่ ต้องการ
• ปรับระดับของการบันทึกเสียงให้ตรงกับคุณภาพที่ต้องการและมีมาตรการป้องกันเสียงรบกวนที่ดี
ขนาดของแฟ้มข้อมูลกับคุณภาพ (File Size Versus Quality)
จากที่เคยกล่าวมาแล้วว่าอัตรา Sampling Rate ยิ่งสูงความถูกต้องของข้อมูลเสียงที่ทำการ บันทึกจะสูงตามไปด้วย เรียกว่า “ความละเอียดของเสียง” (Audio Resolution) นั่นหมายถึงว่า หากต้องการคุณภาพเสียงดีเท่าไรขนาดของแฟ้มข้อมูลก็จะใหญ่ขึ้นตามไปด้วย
การบันทึกเสียงแบบสเตริโอ (StereoRecording) จะให้คุณภาพของเสียงที่ฟังแล้วสมจริงมากขึ้น และเมื่อเปรียบเทียบการบันทึกเสียงแบบโมโน (Mono Recording) กับการบันทึกเสียงแบบสเตริโอโดยใช้ ระยะเวลาในการบันทึกเท่ากัน แฟ้มข้อมูลเสียงแบบสเตริโอที่บันทึกได้จะใช้พื้นที่มากกว่าแฟ้มข้อมูลเสียง แบบโมโน ซึ่งการคำนวณขนาดของแฟ้มข้อมูลที่ได้จากการบันทึกทั้งสองแบบมีดังนี้
การบันทึกเสียงแบบโมโน |
Sampling Rate x ระยะเวลาในการบันทึก x (Sampling Size/8) x 1
|
การบันทึกเสียงแบบสเตริโอ
|
Sampling Rate x ระยะเวลาในการบันทึก x (Sampling Size/8) x 2
|
เช่นทำการบันทึกเสียงแบบโมโนนาน 10 วินาที ที่ Sampling Rate 22.05 kHz, Sampling Size 8 บิต จะคำนวณได้ดังนี้
22050 x 10 x 8/8 x 1 = 220,500 byte หรือทำการบันทึกเสียงแบบสเตริโอ 10 วินาที ที่ Sampling Rate 44.1 kHz, Sampling Size 16 บิต จะคำนวณได้ดังนี้ 44100 x 10 x 16/8 x 2 = 1,764,000 byte หรือทำการบันทึกเสียงแบบโมโน 40 วินาที ที่ Sampling Rate 11 kHz, Sampling Size 8 บิต จะได้ขนาดของแฟ้มข้อมูล 440,000 ไบต์ เป็นต้น
การปรับระดับในการบันทึกเสียง (Setting Proper Recording Levels)
หากไม่สามารถควบคุมการนำสัญญาณเสียงเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาอาจจะได้เสียงที่ไม่มีคุณภาพหรือ มีสัญญาณรบกวนปนเข้ามาในเสียงที่ทำการบันทึก ทำให้คุณภาพของเสียงที่ได้จากการบันทึกอยู่ในระดับต่ำ ไม่เหมาะที่จะนำไปใช้งาน
ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมสำหรับการบันทึกและแก้ไขเสียงแบบดิจิตอล จะต้องมีมาตรวัดระดับเสียงสำหรับควบคุมความดัง ของเสียงที่เรียกว่า “ดิจิตอลมิเตอร์” (Digital Meter)
ดังนั้นการบันทึกเสียงพร้อมกับควบคุมไม่ให้เกินระดับเสียงที่กำหนดด้วยดิจิตอลมิเตอร์ จะเป็นวิธีการป้องกันความผิดพลาด ได้อีกวิธีหนึ่งนั่นเอง
ดิจิตอลมิเตอร์จะมีขีดกำหนดบอกความดังสูงสุดที่สามารถบันทึกได้ในการบันทึก ไม่ควรให้ความดังของเสียงเกินขีดจำกัดที่กำหนดไว้ บนดิจิตอลมิเตอร์ และจะต้องควบคุมความดังของเสียงให้อยู่ในระดับที่ต่ำกว่าขีดจำกัดที่กำหนดเสมอ ระดับความดังที่เหมาะสมจะอยู่ระหว่างค่า -10 ถึง -3
22050 x 10 x 8/8 x 1 = 220,500 byte หรือทำการบันทึกเสียงแบบสเตริโอ 10 วินาที ที่ Sampling Rate 44.1 kHz, Sampling Size 16 บิต จะคำนวณได้ดังนี้ 44100 x 10 x 16/8 x 2 = 1,764,000 byte หรือทำการบันทึกเสียงแบบโมโน 40 วินาที ที่ Sampling Rate 11 kHz, Sampling Size 8 บิต จะได้ขนาดของแฟ้มข้อมูล 440,000 ไบต์ เป็นต้น
การปรับระดับในการบันทึกเสียง (Setting Proper Recording Levels)
หากไม่สามารถควบคุมการนำสัญญาณเสียงเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาอาจจะได้เสียงที่ไม่มีคุณภาพหรือ มีสัญญาณรบกวนปนเข้ามาในเสียงที่ทำการบันทึก ทำให้คุณภาพของเสียงที่ได้จากการบันทึกอยู่ในระดับต่ำ ไม่เหมาะที่จะนำไปใช้งาน
ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมสำหรับการบันทึกและแก้ไขเสียงแบบดิจิตอล จะต้องมีมาตรวัดระดับเสียงสำหรับควบคุมความดัง ของเสียงที่เรียกว่า “ดิจิตอลมิเตอร์” (Digital Meter)
ดังนั้นการบันทึกเสียงพร้อมกับควบคุมไม่ให้เกินระดับเสียงที่กำหนดด้วยดิจิตอลมิเตอร์ จะเป็นวิธีการป้องกันความผิดพลาด ได้อีกวิธีหนึ่งนั่นเอง
ดิจิตอลมิเตอร์จะมีขีดกำหนดบอกความดังสูงสุดที่สามารถบันทึกได้ในการบันทึก ไม่ควรให้ความดังของเสียงเกินขีดจำกัดที่กำหนดไว้ บนดิจิตอลมิเตอร์ และจะต้องควบคุมความดังของเสียงให้อยู่ในระดับที่ต่ำกว่าขีดจำกัดที่กำหนดเสมอ ระดับความดังที่เหมาะสมจะอยู่ระหว่างค่า -10 ถึง -3
ซอฟต์แวร์สำหรับเทคโนโลยีเสียง
ชื่อโปรแกรม |
คำอธิบาย
|
Winamp
|
โปรแกรมสำหรับใช้เล่นและแก้ไขปัญหาการเล่น Mp2
และ Mp3 พร้อมทั้งสามารถแก้ไขเสียงได้อย่างละเอียด |
Amazing MIDI
|
เป็นโปรแกรมสำหรับแปลง Wave File เป็น MIDI File
|
Cool Edit
|
สามารถลดเสียงรบกวนและปรับแต่ง Wave file ด้วยโปรแกรม Cool Edit Professional
|
Windows Media
Player 7.0 |
โปรแกรมสำหรับดูหนังฟังเพลง สามารถเล่นไฟล์ MPEG-1, MPEG-2, WAV, AVI, MIDI, Mp3
|
Media Center 1.2
|
โปรแกรมสำหรับเล่น Multimedia สามารถเล่นวิดีโอ เสียง และรูปภาพได้
|
Quick Time 4.1
|
โปรแกรมเสริมสำหรับการดูหนังฟังเพลงจาก Net
สามารถเล่น Mp3 ได้ |
Super DVD Player
|
โปรแกรมสำหรับดูหนังฟังเพลง
|
Xing PEG
|
สามารถใช้เล่นกับไฟล์ในตระกูล MPEG ได้ทุกชนิด
|
Karaoke
|
เป็นโปรแกรมสำหรับเล่นและร้องเพลงคาราโอเกะ บนเครื่อง
คอมพิวเตอร์ได้ |
MpegPlayer
|
เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับดูหนัง ฟังเพลง และสามารถจับภาพหนังที่กำลังชมอยู่ได้
|
การรวมเสียงเข้ากับงานด้านมัลติมีเดีย
การจะใช้มัลติมีเดียต้องมั่นใจว่าเมื่อใส่เสียงประกอบไปกับมัลติมีเดียจะทำให้มัลติมีเดียที่ออกแบบมี คุณภาพมากขึ้น การพิจารณาขนาดความเหมาะสมในการนำมาใช้งาน
ทำได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้
- ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงชนิดใดกับมัลติมีเดียที่ออกแบบ เช่น เพลง เสียงพิเศษประกอบการนำเสนอและเสียงพูด เป็นต้น ซึ่งต้องกำหนดตำแหน่งหรือเวลาในการแสดงเสียงให้เหมาะสมด้วย
- ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงแบบ MIDI หรือใช้เสียงแบบดิจิตอลที่ไหนและเมื่อไหร่
- พิจารณาว่าจะสร้างข้อมูลเสียงขึ้นมาเองหรือซื้อสำเร็จรูปมาใช้งาน จึงจะเหมาะสม
-นำข้อมูลเสียงมาทำการปรับแต่งให้เหมาะสมกับมัลติมีเดียที่ออกแบบ แล้วนำมารวมเข้ากับมัลติมีเดียที่ทำการผลิต
-ทดสอบการทำงานของเสียงให้มั่นใจว่า เสียงที่นำเสนอออกไปมีความสัมพันธ์กับภาพในมัลติมีเดียที่ผลิตขึ้น
การจะใช้มัลติมีเดียต้องมั่นใจว่าเมื่อใส่เสียงประกอบไปกับมัลติมีเดียจะทำให้มัลติมีเดียที่ออกแบบมี คุณภาพมากขึ้น การพิจารณาขนาดความเหมาะสมในการนำมาใช้งาน
ทำได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้
- ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงชนิดใดกับมัลติมีเดียที่ออกแบบ เช่น เพลง เสียงพิเศษประกอบการนำเสนอและเสียงพูด เป็นต้น ซึ่งต้องกำหนดตำแหน่งหรือเวลาในการแสดงเสียงให้เหมาะสมด้วย
- ตัดสินใจว่าจะใช้เสียงแบบ MIDI หรือใช้เสียงแบบดิจิตอลที่ไหนและเมื่อไหร่
- พิจารณาว่าจะสร้างข้อมูลเสียงขึ้นมาเองหรือซื้อสำเร็จรูปมาใช้งาน จึงจะเหมาะสม
-นำข้อมูลเสียงมาทำการปรับแต่งให้เหมาะสมกับมัลติมีเดียที่ออกแบบ แล้วนำมารวมเข้ากับมัลติมีเดียที่ทำการผลิต
-ทดสอบการทำงานของเสียงให้มั่นใจว่า เสียงที่นำเสนอออกไปมีความสัมพันธ์กับภาพในมัลติมีเดียที่ผลิตขึ้น
เทคโนโลยีเสียงในปัจจุบันและอนาคต
สุดยอดแห่งดีไซน์ลำโพงใหม่ ที่ให้คุณฟังเพลงโปรดและดูไฟล์วีดีโอจากเครื่องเล่น iPod ได้ด้วยพลังเสียงก้องกระหึ่ม
สุดยอดแห่งดีไซน์ลำโพงใหม่ ที่ให้คุณฟังเพลงโปรดและดูไฟล์วีดีโอจากเครื่องเล่น iPod ได้ด้วยพลังเสียงก้องกระหึ่ม สนุกสนานและเพลิดเพลินไปกับการดูหนังและฟังเพลงอย่างสมบูรณ์แบบ
Philips DC910 มาพร้อมกับลำโพงคู่เทคโนโลยี wOOx ให้พลังเสียงเบสที่ดีเยี่ยมด้วยการตรวจจับแล้วขยายสัญญาณเสียงเบสความถี่ต่ำ เพื่อเสียงเบสที่ทุ้มลึกเต็มไปด้วย เทคโนโลยีเสียง Dynamic Bass Boost (DBB) เพื่อเสียงทุ้มที่นุ่มลึกยิ่งขึ้น และระบบเสียง Digital Sound Control 4 โหมด ที่สามารถปรับแต่งโทนเสียงแบบดิจิตอล (Optimal, Classic, Jazz, Rock) ตามประเภทของเพลงได้อย่างสมบูรณ์แบบ มีกำลังขับ 30 W RMSทำให้เต็มอิ่มกับการสัมผัสพลังเสียงชัดใสได้อย่างสมบูรณ์แบบ
Philips DC910 ยังใช้งานง่าย นอกจากจะสามารถเชื่อมต่อกับ ipod แล้ว คุณยังสามารถมีความสุขกับเสียงดนตรี MP3/WMA ผ่านช่องต่อ USB สามารถตั้งเวลาเปิดเครื่องอัตโนมัติ และรับฟังรายการวิทยุจากคลื่นสถานีFM ได้อีกด้วย
iHome iP4 ลำโพงสเตอริโอคลาสสิก
iHome iP4 ลำโพงสเตอริโอคลาสสิก จะทำให้คุณได้เพลิดเพลินไปกับเสียงเพลงด้วยเทคโนโลยีเสียงแบบ SRS TruBass รูปทรงคล้ายเครื่องเล่นวิทยุ ตัวเครื่องมีขนาด 17.81 x 9.06 x 4.96 นิ้ว มาพร้อมสายสะพายสะดวกในการพกพาไปไหนมาไหน รองรับการใช้งานกับ iPhone และ iPod
อาร์ทีบี เทคโนโลยี เปิดตัว ลำโพงบลูทูธ Beats
“Beats Pill™” จากแบรนด์ Beats By Dr.Dre ที่โดดเด่นด้วยเสียงคุณภาพสูง พร้อมรองรับการส่งสัญญาณได้ถึง 30 ฟุต ด้วยดีไซน์ใหม่ไม่ซ้ำแบบใคร น้ำหนักเบา ขนาดกะทัดรัดเหมาะแก่การพกพา มาพร้อมความสะดวกสบายที่ให้คุณสามารถสั่งการด้วยรีโมทคอนโทรลและมีปุ่มกดเพื่อเพิ่มและลดเสียงได้ตามต้องการ
นอกจากนี้ “Beats Pill™” ยังถูกออกแบบให้แยกลำโพงออกจากกันถึง 4 ตัว เพื่อให้คุณได้สัมผัสถึงคุณภาพสียงที่คมชัดและทรงพลัง สามารถรองรับการคุยโทรศัพท์ได้เป็นอย่างดีเนื่องจากมีไมโครโฟนในตัวจึงทำให้คุณไม่พลาดทุกการติดต่อ โดยตัวเครื่องรองรับการใช้งานแบบไร้สายผ่านบลูทูธ(Bluetooth) หรือสามารถเชื่อมต่อผ่านช่องต่อแบบ 3.5 มม.ที่อยู่ด้านหลังลำโพงได้อีกด้วย อีกทั้งยังรองรับการเชื่อมต่อได้อย่างรวดเร็วผ่านระบบ NFC ได้เป็นอย่างดี
ชุดโฮมเธียเตอร์ Philips Ambisound HTS8140 ประกอบด้วยลำโพงขับเสียงซอฟต์โดมทวีตเตอร์ 2 ยูนิต ฟูลเรนจ์ไดร์เวอร์ทำหน้าที่ขับเสียงกลางต่ำขนาด 2.5 นิ้ว 6 ยูนิต ค่าความต้านทานโอห์มรวม 6 โอห์ม ซับวูฟเฟอร์แบบแอ๊กทีฟขนาดไดร์เวอร์ 6 นิ้วครึ่ง ค่าความต้านทาน 4 โอห์ม และสนองตอบความถี่ต่ำได้ 30-120Hz
ความคิดเห็นส่วนตัว
เทคโนโลยีในปัจจุบันก็มีการพัฒนาเป็นอย่างมากทั้งนี้ ระบบเสียงก็พัฒนาขึ้นเรื่อยๆ มิติของเสียงก็มากขึ้นเพื่อทำให้เป็นเสหมือนของจริง ในการรับฟัง อนาคตหวังว่าจะพัฒนาให้มากขึ้นและดีขึ้นต่อไป
นายชัยธวัช เจริญรัมย์ เลขที่ 2 ปวส.2 คอม.1
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น